ตัวอย่างการสนทนากันในถิ่นภาคใต้ |
วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2559
ตัวอย่างคำในภาษาถิ่นใต้
ตัวอย่างคำในภาษาถิ่นใต้
คำ | ความหมาย | คำ | ความหมาย |
กุบกั่บ | รีบร้อน | กางหลาง | เกะกะ |
แกล้ง | ตั้งใจทำ | โกปี้ | กาแฟ |
ข้องใจ | คิดถึง, เป็นห่วง | ขี้หมิ้น | ขมิ้น |
ขี้ชิด | ขี้เหนียว | แขบ | รีบ |
ขี้หก, ขี้เท็จ | โกหก | แขว็ก | แคะ |
เคร่า | คอย, รอคอย | เคย | กะปิ |
ไคร้ | ตะไคร้ | ครกเบือ | ครก |
คง | ข้าวโพด | งูบองหลา | งูจงอาง |
ฉ่าหิ้ว | ตะกร้า | ชันชี | สัญญา |
เชียก | เชือก | ตอเบา | ผักกระถิน |
แตงจีน | แตงโม | โตน | น้ำตก |
ตาล่อ, หาจก, ตาอยาก | โลภมาก,อยากได้ | ต่อเช้า | พรุ่งนี้ |
แต่วา | เมื่อวาน | น้ำเต้า | ฟักทอง |
น้ำชุบ | น้ำพริก | เนียน | ละเอียด, ไม่หยาบ |
เนือย | หิว, อ่อนแรง | ดีปลี,ลูกเผ็ด | พริก |
เปรว | ป่าช้า | ผักแหวน | ใบบัวบก |
พุงปลา | ไตปลา | พาโหม | กะพังโหม |
ยิก | ไล่ | ลอกอ | มะละกอ |
ลกลัก | เร่งรีบ,ลนลาน | ลาต้า | อาการบ้าจี้ |
แลกเดียว | เมื่อตะกี้ | ลูกปาด | ลูกเขียด |
สากเบือ | สาก | ส้มนาว | มะนาว |
หวันมุ้งมิ้ง | โพล้เพล้ | หยบ | ซ่อน,แอบ |
หล่าว | อีกแล้ว | หลบบ้าน | กลับบ้าน |
หัว | หัวเราะ | หวังเหวิด | กังวล,เป็นห่วง |
หย่านัด | สับปะรด | หย้ามู้, ยาหมู่,ชมโพ่ | ฝรั่ง |
หรอย | อร่อย | อยาก | หิว |
ประโยชน์ในการศึกษาภาษาไทยถิ่น
ประโยชน์ในการศึกษาภาษาไทยถิ่น
เกิดความเข้าใจในเรื่องของภาษาว่าภาษาในโลกนี้ นอกจากจะมีหลายตระกูลแล้ว ในตระกูล หนึ่ง ๆ ยังมีภาษาย่อยอีกหลายภาษา
เข้าใจความเป็นมาของภาษา และซาบซึ้งในวัฒนธรรมในการใช้ภาษาและเห็นความสำคัญของภาษาไทยถิ่นนั้น ๆ
เข้าใจในเรื่องการกลายเสียงและความหมายของคำ ในภาษาไทยถิ่นหนึ่ง อาจเห็นการใช้คำบางคำบางถิ่นฟังแล้วอาจถือว่าเป็นคำหยาบแต่ความหมายไม่ใช่อย่างที่เข้าใจ เป็นต้น
เป็นแนวทางในการเรียนรู้วิธีการ และวิเคราะห์ภาษาในระบบต่าง ๆ เช่น เสียงพยัญชนะเสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ และอื่น ๆ
เป็นประโยชน์ในการสอนภาษาแก่เด็กนักเรียนที่พูดภาษาถิ่นและแก้ไขปัญหา เด็กนักเรียน ที่ออกเสียงภาษาไทยมาตรฐานไม่ชัด พร้อมนำความรู้ไปแก้ปัญหาในการเรียนการสอนภาษาไทยแก่เด็กนักเรียน
ภาษาถิ่นใต้ ได้แก่ ภาษาถิ่นที่ใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ของภาคใต้ของประเทศไทย ลงไป ถึงชายแดนประเทศมาเลเซีย รวม 14 จังหวัด เช่น ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช เป็นต้น และบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาษาถิ่นใต้ ยังมีภาษาถิ่นย่อยลงไป อีก เป็นภาษาถิ่นใต้ ภาคตะวันออก เช่น ภาษาถิ่นที่ใช้ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ตรัง สตูล ภาษาถิ่นใต้ตะวันตก เช่น ภาษาถิ่นที่ใช้ในจังหวัดกระบี่ พังงา ระนอง สุราษฎร์ธานีและชุมพร และภาษาถิ่นใต้สำเนียงเจ๊ะเห เช่น ภาษาถิ่นที่ใช้ในจังหวัดนราธิวาส และ ปัตตานี ในแต่ละภาคก็จะมีภาษาถิ่นใต้ เป็นภาษาถิ่นย่อยลงไปอีก เช่น ภาษาถิ่นระนอง ภาษาถิ่น ภูเก็ต ภาษาถิ่นพัทลุง ภาษาถิ่นสงขลา เป็นต้น ภาษาถิ่นย่อยเหล่านี้อาจจะมีเสียง และคำที่เรียกสิ่ง เดียวกันแตกต่างกันออกไป
รวบรวมศัพย์ภาษาใต้
รวบรวมศัพย์ภาษาใต้ คำแปลภาษาใต้เป็นภาษาท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของภาคใต้
ภาษาใต้ : เฉียวฉาวเชียวชาว
ความหมาย : ไม่ค่อยสบายตัว
ภาษาใต้ : สับปลับ
ความหมาย : พูดจาโกหกกลับไปกลับมา
ภาษาใต้ : ขี้หก
ความหมาย : โกหก
ภาษาใต้ : หึงสา
ความหมาย : อิจฉา
ภาษาใต้ : รถถีบ
ความหมาย : แปลว่า รถจักรยาน อิอิ
ภาษาใต้ : แหลง
ความหมาย : ความหมายคือพูดตัวอย่าง พี่แหลงชัดคำเดียวว่ารั้กเธอ
ภาษาใต้ : แลหวัน
ความหมาย : มองหรืดูตะวัน เช่นฉันนั่งแลหวันทุกเย็น.....ฉันนั่งดูตะวันทุกเย็น
ภาษาใต้ : ไซร์
ความหมาย : ทำไม เช่นไซร์ไม่ไป ร.ร ..ทำไมไม่ไปร.ร.
ภาษาใต้ : พันพรือหล้าว
ความหมาย : เป็นยังไงอีก
ภาษาใต้ : คุมวัน
ความหมาย : จนทุกวันนี้ เช่นเกลีย***ยุจนคุกวันนี้มวันแปลว่าเกลีย***ยู่จนถึงทุกวันนี้
ภาษาใต้ : เวด-นา
ความหมาย : มาจาก เวทนา น่าสงสารดูไม่ได้ คับผม
ภาษาใต้ : แคงควน
ความหมาย : เอียง หรือไม่ตรง
ภาษาใต้ : ซาม
ความหมาย : น่า หรือ น่าจะสาวคนนี้ อ้วน ซามกอด สาวคนนี้อ้วน น่า กอด
ภาษาใต้ : ในโย
ความหมาย : ในโย หมายถึง ปัจุบัน เช่นในโยคนบ้านเรายังเบี้ยกันทั้งเพเพราะราคายางแพงคือ ปัจุบัน คนบ้านเรามีเงินกัทั้งนั้นราคายางแพง
ภาษาใต้ : หวิบ
ความหมาย : โมโห
ภาษาใต้ : เซน
ความหมาย : เอียง หรือ ไม่ตรง เช่น บ้านหลังนี้อยู่จนเซนหมอแล้ว
ภาษาใต้ : ไม่รู้หวัน
ความหมาย : ไม่รู้เรือง
ภาษาใต้ : กอก
ความหมาย : ใสนํ้า
ภาษาใต้ : เกือก
ความหมาย : รองเท้า
ภาษาใต้ : บ่าวหยอกนิน้อง
ความหมาย : พี่แค่หยอกเล่นเองผู้ชายเดินมาแล้วตบหัวเพื่อนผู้หญิงเบาๆแล้วพูดว่า" บ่าวหยอกนิน้อง"
ภาษาใต้ : อีโหว้ง-วก
ความหมาย : ใช้เรียกคนที่โง่ ไม่รู้เรื่อง( เบร่อ)
หลบ, หล็อบ (หล๊อบ)
หมายความว่า : กลับ
ตัวอย่าง : ลุงลูกเสือบอกว่า เดือนหน้า จะหล็อบเริน
เริน
หมายความว่า : บ้าน, เรือน
ขวยใจ (ข้วยใจ๋), หวังเหวิด (หวั้งเวิ้ด)
หมายความว่า : กังวลใจ เป็นห่วง
ตัวอย่าง : หวังเหวิดคนดูไบจั่งหู้ ไม่รู้ว่ายังมีชีวิตอยู่เหล้ยม้าย
จังหู (จั่งหู้), จังหัน (จั่งหั้น), คาลักคาลุย, กองลุย, กองเอ, ราสา, หนัดเหนียน
หมายความว่า : เยอะแยะ มากมาย
ตัวอย่าง : ภาษาใต้ มีมากมาย จังหู้ จังหั้น จ่านเแจ็ก
หิด,หิดหุ้ย, แต็ด, แยด
หมายความว่า : เล็กน้อย นิดหน่อย ไม่มาก
ตัวอย่าง : คนเสื้อแดงแรกแต่วา มีแต็ดเดียว สงสัยว่า จะได้ตังค์กันคนละหิดหุ้ย
แต่วา, แรกแต่วา
หมายความว่า : เมื่อวานนี้
ตัวอย่าง : แรกแต่วา มีหมา มาเดินเพ่นพ่าน กันเต็มสนามหลวง
ต่อเช้า, ต่อโพรก
หมายความว่า : พรุ่งนี้
ตัวอย่าง : ไม่โร้ว่า ตอโพรก พวกเสื้อแดง จะทำบ้าไอ่ไร้หลาว
ต่อรือ
หมายความว่า : วันมะรืน
ต่อเหรือง
หมายความว่า : วันถัดไปของวันมะรืน
ขาดหุ้น (ข้าดหุ๊น), เบา, ฉ็อมฉ็อม
หมายความว่า : ไม่เต็มเต็ง ไม่เต็มบาท ไม่รู้เรื่องหรือไม่ฉลาด
ตัวอย่าง : ไอ้พวกสามเกลอหัวกลม มันขาดหุ้นกันทั้งเพ
ทั้งเพ
หมายความว่า : ทั้งหมด ทั้งสิ้น
ได้แรงอก (ด่ายแหร่งอ็อก)
หมายความว่า : สะใจ ถูกใจ เป็นอาการแสดงออกถึงรู้สึกความพอใจอย่างที่สุด
ตัวอย่าง : ถ้าแรกแต่วา มีฟ้าผ่าที่สนามหลวง คิดว่า น่าจะด่ายแหร่งอ็อก
แง็ง
หมายความว่า : เป็นอาการดุ หรือแสดงอาการข่มขู่คู่ต่อสู้ของสุนัข
ตัวอย่าง : อย่าเดินไปแถวสนามหลวงนะ เดี๋ยวพวกหมาแดง มันอิแง็งเอา
ขบ
หมายความว่า : กัด
ตัวอย่าง : ได้หมาวัดตัวนั้น มันด้นจัง ชอบขบไม่เลือกหน้า หมาเนรคุณ
ด้น (ด่อน)
หมายความว่า : ดุร้าย
หม้ายไหร (ม้ายหรั้ย), เปลาๆ, ลอกอ
หมายความว่า : ไม่มีอะไร หรือฐานะยากจน
ตัวอย่าง : ไอ้จะตุพอน ทำเป็นปากดี แต่จริงๆแล้ว มันหม้ายไหร
หาม้าย
หมายความว่า : ไม่มี
ตัวอย่าง : เปิดดูกล่องฎีกา หาม้ายกระดาษซักแผ่น
ฉาด (ฉ้าด), หมดฉาด (หม๊ดฉ้าด), เหม็ดฉาด (เม๊ดฉ้าด)
หมายความว่า : หมด ไม่มี หมดเกลี้ยง
ตัวอย่าง : ฝนตกมาทีไร เสื้อแดงก็หนีหาย เหม็ดฉาด
เอิด,เหลิด (เหลิ้ด)
หมายความว่า : ทำตัวกร่าง ทำเป็นเก่ง
ตัวอย่าง : ไอ้พวกสามเกลอ จริงๆแหล่วหม้ายไหร้ แต่ทำเป็นเอิด เหลิ้ดจั่งหู้แหล่ว
หยบ (หย๊อบ)
หมายความว่า : แอบ หลบหรือซ่อน
ตัวอย่าง : หน้าเหลี่ยมคนกล้า พอศาลตัดสินมา หย๊อบหนีไปเฉยเลย
พลัดพรก, เหลินดังแส็ก
หมายความว่า : อาการของการหล่นลงมาอย่างแรง (เหลิน = หล่น)
ตัวอย่าง : หน้าเหลี่ยมบอกว่า นั่งเครื่องบินผ่านประเทศไทยไปมา น่าเอาปืนยิงให้พลัดพรก เหลินดังแส็ก ดูท่า น่าจะได้แรงอก
พรือโฉ้
หมายความว่า : เป็นอาการที่บอกไม่ได้ อธิบายไม่ถูก
ตัวอย่าง : เห็นโหมเสื้อแดงทีไร แหล่วหั้วใจมันพรือโฉ้
โหม (อ่านว่า ห - ม - โ = โหม)
หมายความว่า : หมู่ พวก กลุ่ม
ตัวอย่าง : ไอ้โหมสามเกลอ มันเมล่อทั้งเพ
เมล่อ, เบล่อ (อ่านพยางค์เดียวควบกล้ำ ม - ล - สระเออ)
หมายความว่า : ไม่เอาไหน ไม่ได้เรื่อง
ทำถ้าว
หมายความว่า : ยุ่งเรื่องคนอื่น หรืออธิบายง่ายๆ ก็หมายความว่า เสือก นั่นแหละ
ตัวอย่าง : ชาวเสื้อแดงรักพ่อแม้วสุดหัวใจ ใครๆอย่ามาทำถ้าว
เนียนแจ็กแจ๊ก
หมายความว่า : เละเทะ เละตุ้มเปะ ไม่เหลือชิ้นดี
ตัวอย่าง : ถ้าเจอนัดถะวุดตัวตัวตอใด จะกระทืบให้เนียนแจ็กแจ็ก
ตอใด
หมายความว่า : เมื่อไหร่
ตัวอย่าง : ตอใด ไอ้พวกหมิ่นสถาบัน มันจะตายกันซะที
ขี้มิ่น หมายถึง ขมิ้นใส่ในแกงของคนใต้
ขี้พร้า หมายถึง ฟัก
มะลิ, ย่านหนัด หมายถึง สัปรด
หัวครก, ยาร่วง หมายถึง มะม่วงหิมพาน
ถุงกรอบแกรบ หมายถึง ถุงพลาสติกแบบที่มีหูหิ้ว
หมาถั้ง หมายถึง ภาชนะที่ใช้ตักน้ำในบ่อ
เหล็กขูด หมายถึง กระต่ายขูดมะพร้าว
เหล็กโคน หมายถึง ตะปู
คำเเละความหมายของภาษาในท้องถิ่น
ถอดสี ความหมาย กลัว ตกประหม่า ขี้กลาด ทำเฒ่า ความหมาย ทำแก่แดด อวดรู้ ตีตนเสมอผู้ใหญ่
ทำนุ้ย ความหมาย ทำออดอ้อนอย่างเด็ก
ทำบ่าว ความหมาย ทำตัวเป็นหนุ่มเกินวั ฉีกเหงือก ความหมาย ดันทุรัง นอกคอก
รดท่อน ความหมาย การอาบน้ำเพียงครึ่งตัวส่วนบน
สากลัว ความหมาย กลัว
หกใส่ ความหมาย กล่าวหา กล่าวโทษ กล่าวร้าย
บ้าเหมีย ความหมาย กิริยาผู้ชายที่บ้าผู้หญิง เป็นคำตำหนิ
บ้าผู้ ความหมาย กิริยาที่ผู้หญิงบ้าผู้ชาย เป็นคำตำหนิ
หล้าปาก ความหมาย การพูดจาโดยขาดความสำรวม
มุ้งมิ้ง ความหมาย เวลาพลบค่ำ โพล้เพล้
หนอยหนอย ความหมาย เบา ๆ
ไหว้เมีย ความหมาย สู่ขอ แต่งงาน (ใช้กับผู้ชาย)
ยังชั่ว ความหมาย ดีขึ้น อาการดีขึ้น
ซีกย่าน ความหมาย เดินตามกันมาเป็นแถว
หม้าย = ไม่
แล = ดู
เกือก = รองเท้า
รถถีบ = รถจักรยาน
ดายของ = เสียดาย
ดอกกุญหยี = ดอกบานไม่รู้โรย
ดอกขี้ไก่ = ดอกผกากรอง
หลา = ศาลา
สายคอ = สร้อยคอ
สายมือ = สร้อยข้อมือ
หรอย = อร่อย
หรอยจังฮู้ = อร่อยมาก ๆ
หนน = ถนน
เอม = อิ่ม
โหม๋เรา = พวกเรา
ไตร = อะไร
หาจก = ตะกละ
จังฮู้ = เยอะ
เหม็ด = หมด
หยบ = หลบ
เก้าเอ้ = เก้าอี้
อาคาด = มากมาย
แหลง = พูด
พี่บ่าว = พี่ชาย
สาวนุ้ย = น้องสาว
แขบ = รีบ
ดีหวา = ดีกว่า
ไม่หลาบ = ไม่จำ,ไม่เข็ด
ดานเฉียง = เขียง
ช้อนชี่ = ตะหลิว
สากเบือ = สากกะเบือ
ลอกอ = มะละกอ
ลูกม่วง = มะม่วง
ไอไหร = อะไร
หิด = นิดหน่อย
ตะ = ได้ไหม
เหล็กคูด = กระต่าย
จังเสีย = เยอะจัง
นายหัว = เจ้านายผู้ชาย
มะม่วงหิมพานต์ = กาหยู , กาหยี , ยาร่วง, ย่าโห้ย, หัวครก , ม่วงเล็ดล่อ, ท้ายล่อ
ชมพู่ = ชมโพ่แก้ว, น้ำดอกไม้, ชมโพ่น้ำดอกไม้
ฝรั่ง = ชมโพ่ ยาหมู่ หย้ามู้
ฟักทอง = น้ำเต้า
ฟัก = ขี้พร้า
ขมิ้น = ขี้หมิ้น
ตะไคร้ = ไคร
พริก = ดีปลี, โลกแผ็ด, ลูกเผ็ด
ข้าวโพด = คง
มะละกอ = ลอกอ กล้วยหลา สับปะรด = หย่านัด
วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2559
การใช้ภาษาในท้องถิ่น

การใช้ภาษาในท้องถิ่น
ภาษาไทยถิ่นใต้ เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคใต้ของประเทศไทย นับแต่จังหวัดชุมพรลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซียรวม 14 จังหวัดและบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อีกทั้งบางหมู่บ้านในรัฐกลันตัน รัฐปะลิส รัฐเกดะห์(ไทรบุรี) รัฐเประ และรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย บางหมู่บ้านในเขตตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม่าด้วย ภาษาไทยถิ่นใต้มีเพียงภาษาพูดเท่านั้น ไม่มีตัวอักษรเขียนเฉพาะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)